โรคไทรอยด์ชนิดอ้วน กับ ชนิดผอม ต่างกันอย่างไรควรรู้?
ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมขนาดเล็กที่มีรูปร่างเหมือนผีเสื้ออยู่ที่คอใต้ลูกกระเดือกมีขนาดยาว4 ซม.กว้าง 1-2 ซม. ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการเผาผลาญพลังงานของร่างกาย อุณหภูมิของร่างกาย ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ระดับไขมันในเลือด รวมทั้งอารมณ์และความรู้สึก
ปกติต่อมไทรอยด์จะหลั่งฮอร์โมนออกมาในปริมาณที่เหมาะสม ฮอร์โมนที่สำคัญคือ Tetraiodothyronine( thyroxin หรือ T4) และ Triiodothyronine(T3) โดยฮอร์โมนนี้จะมีฐาตุไอโอดินเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ ถ้าฮอร์โมนหลั่งน้อยไปเรียก Hypothyroid ร่างกายจะเผาผลาญน้อยลง แต่ถ้าฮอร์โมนหลั่งมากร่างกายจะเผาผลาญมากทำให้น้ำหนักลดเรียก Hyperthyroid
การวินิจฉัยโรค
1. การตรวจเลือดหาระดับไทรอยด์ฮอร์โมน ต่อมใต้สมอง Pituitary gland จะสร้างฮอร์โมนที่เรียกว่า Thyroid stimulating hormone TSH ทำหน้าที่กระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมน thyroxin หรือ T4 และ T3 เพื่อให้ร่างกายเผาผลาญอาหาร
-หากต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนมากเกินไปเรียก Hyperthyroid ตรวจเลือดจะพบว่า T4 และ T3 สูงแต่ TSH ต่ำ
-หากต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนน้อยเกินไปเรียก Hypothyroid ตรวจเลือดจะพบว่า T4 และ T3 ต่ำแต่ TSH สูง
2. Thyroid scan คือการตรวจต่อมไทรอยด์โดยการให้ผู้ป่วยรับประทานเกลือ iodine ที่อาบรังสี หลังจากนั้นนำผู้ป่วยเข้าเครื่องตรวจ ประโบชน์ของ Thyroid scan คือ
-บอกว่าต่อมไทรอยด์มีการอักเสบหรือไม่ Thyroiditis
-บอกว่าต่อมไทรอยด์มีการสร้างฮอร์โมนเพิ่มขึ้นหรือไม่
แยกก้อนที่ต่อมไทรอยด์ว่าเป็นHot nodule หรือ Cold nodule
Hot nodule หมายถึงก้อนที่ต่อมไทรอยด์ที่มีการสร้างฮอร์โมนสูง มักจะไม่เป็นมะเร็ง ส่วนCold nodule มีโอกาศเป็นมะเร็งร้อยละ 5 มะเร็งต่อมไทรอยด์ส่วนใหญ่เป็น Cold nodule
3. Needle aspirate เป็นการใช้เข็มเจาะเนื้อไทรอยด์และดูดเอาเนื้อไทรอยด์ส่งตรวจทางกล้องจุลทัศน์เพื่อตรวจชิ้นเนื้อว่าเป็นมะเร็ง หรือคอพอกเป็นพิษ หรือเป็นซีต
4. การตรวจ ultrsound เพื่อตรวจดูว่าก้อนไทรอยด์นั้นเป็นก้อนเนื้อ หรือเป็น cyst
โรคไทรอยด์ชนิดอ้วน – ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย ( Hypothyroid )
เป็นภาวะที่ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนออกมาน้อย ทำให้ร่างกายเกิดอาการของการขาดฮอร์โมนไทรอยด์ ต่อมใต้สมอง [pituitary gland] จะสร้างฮอร์โมนที่เรียกว่า Thyroid stimulating hormone [TSH] ออกมาเพื่อกระตุ้นต่อมไทรอยด์ทำงานมากขึ้น ต่อมไทรอยด์จึงมีขนาดโตขึ้นที่เรียกว่าคอพอก goiter
สาเหตุ
-เกิดจากการอักเสบของต่อมไทรอยด์ thyroiditis
-เกิดจากการผ่าตัดต่อมไทรอยด์มากเกินไป
-เกิดจากการใช้น้ำแร่รักษาต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
-อาการของต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย
อาการของผู้ป่วยเกิดจากการที่ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยร่างกายก็มีการเผาผลาญน้อย ผู้ป่วยที่เป็นไม่มากอาจจะไม่มีอาการอะไร หากไม่รักษาโรคจะเป็นมากขึ้นจนเกิดอาการของต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย คือ
-อ่อนเพลีย
-ผิวหยาบและแห้ง ผิวซีด และผมแห้ง
-อมรมณ์ผันผวน
-ขี้ลืม
-น้ำหนักเพิ่ม
-กลืนลำบาก
-ขี้หนาว
-เบื่ออาหาร
กลุ่มอาการ Subclinical Hypothyroidism
เป็นภาวะที่พบได้บ่อยเป็นภาวะที่พบว่าค่า TSH สูง โดยที่ค่า T3 T4 มีค่าปกติโดยที่ไม่มีอาการ การตัดสินใจรักษาจะต้องพิจารณาให้รอบครอบเพราะหากรักษาจะต้องรักษาตลอดชีพ
การวินิจฉัยโรค
โดยการเจาะเลือดตรวจหาฮอร์โมนของต่อมธัยรอยด TSH T3 T4 จะพบว่าค่า T4 ปกติหรือต่ำ แต่ค่า TSH จะสูงเป็นการยืนยันการวินิจฉัย
การรักษา
โดยการให้ thyroid hormone ตลอดชีวิต โดยต้องเริ่มให้ขนาดน้อยแล้วปรับยาจนกระทั่งค่า T4 และ TSH อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ไม่ควรเปลี่ยนยาเองโดยไม่ได้ปรึกษาแพทย์
ควรตรวจหาระดับ TSH เป็นระยะเพื่อปรับยาไทรอยด์
หากการวินิจฉัยไม่ผิดพลาดท่านจะต้องรับประทานยาไปตลอดชีวิต ไม่ควรหยุดยาเองแม้ว่าท่านจะป่วยจากโรคอื่น
โรคไทรอยด์ชนิดผอม – ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (Hyperthyroid คอพอกเป็นพิษ)
หมายถึงภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนออกมามากกว่าปกติทำให้เกิดอาการของภาวะฮอร์โมนเกินร่างกา ยมีการเผาผลาญอาหารมากเกินไป
สาเหตุสำคัญของโรคคอพอกเป็นพิษ
-โรค Grave’s disease เกิดภาวะที่มีภูมิของร่างกายมีการกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างฮอร์โมนออกมามาก ผู้ป่วยจะมีต่อมไทรอยด์โต
-โรค Multinudular toxic goiter หมายถึงภาวะที่ก้อน [nodule] ในต่อมไทรอยด์ทำงานสร้างฮอร์โมนเพิ่มขึ้น อาจจะเป็นก้อนเดียว หรือหลายก้อน
-Thyroiditis เป็นการอักเสบของต่อมไทรอยด์ ช่วงแรกของการอักเสบจะมีอาการของคอพอกเป็นพิษ แต่ระยะหลังจะเป็นต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย
ผู้ป่วยคอพอกเป็นพิษจะมีอาการอะไรบ้าง
-อารมณ์แปรปรวน
-นอนไม่หลับ
-กล้ามเนื้ออ่อนแรง
-ตาโปน
-มือสั่น
-ใจสั่น เหนื่อยง่าย
-คอพอก
-ประจำเดือนผิดปกติ
-ขี้ร้อน
-น้ำหนักลดแม้ว่าจะรับประทานอาหารได้ดี
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ พบว่าค่า T3 หรือ T4 สูงและค่า TSH ต่ำ
ทำไทรอยด์สแกน เพื่อดูสภาพต่อมไทรอยด์ว่าโตทั้งต่อมหรือไม่ มีก้อนหรือไม่ หรือเป็นต่อมไทรอยด์อักเสบ
การรักษา
การรักษามีได้หลายวิธีแพทย์จะพิจารณาจาก อายุ เพศ สภาพของผู้ป่วย ชนิดของคอกพอกเป็นพิษ ความรุนแรงของโรค การรักษามีได้ 3 วิธีคือ
-การรับประทานยาเพื่อลดการสร้างฮอร์โมน เช่นยา PTU ,Methimazole
-การรับประทานน้ำแร่ radioactive iodine เมื่อรับประทานน้ำแร่ซึ่ง iodine ที่มีรังสีจะทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์ แพทย์จะคำนวณขนาดยาที่เหมาะสม
-การผ่าตัด ปัจจุบันการผ่าตัดมีความนิยมลดลงไปมาก โดยเลือกกับผู้ป่วยบางราย เช่น เด็ก วัยรุ่น หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาในการรักษา หรือผู้ที่มีต่อมโตมาก มีอาการทางตารุนแรง หรือมีก้อนในต่อม
ยาอื่นๆได้แก่กลุ่ม betablockerเช่น propanolol,atenolol,metoprolol เพื่อลดอาการของโรค
ได้ทำความรู้จักกัน โรคไทรอยด์ ทั้งสองชนิดกันไปแล้วนะคะ จริงๆแล้วโรคไทรอยด์ไม่ใช่โรคที่ร้ายแรง แต่แค่ต้องดูแลตัวเองตลอดเวลา ท่านผู้อ่านลองสังเกตอาการของตัวเองดูว่ามีความผิดปกติและมีอาการเหมือนดังที่กล่าวมาไหม ถ้าสงสัยให้รีบไปตรวจที่โรงพยาบาลทันทีเลยนะคะ เพื่อที่เราจะได้รักษาอย่างทันท่วงที
แต่ในปัจุบันมีทางเลือกอีกช่องทางคือการดื่มยาสมุนไพร เพื่อป้องกันหรือรักษาได้ แนะนำ ยาน้ำสมุนไพรโหย่งเหิง หรือ ยาเม็ดสมุนไพรโหย่งหมิง
อ้างอิง
ต่อมไทรอยด์เป็นต่อมขนาดเล็กที่มีรูปร่างเหมือนผีเสื้ออยู่ที่คอใต้ลูกกระเดือกมีขนาดยาว4 ซม.กว้าง 1-2 ซม. ทำหน้าที่สร้างฮอร์โมน ซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการเผาผลาญพลังงานของร่างกาย อุณหภูมิของร่างกาย ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ระดับไขมันในเลือด รวมทั้งอารมณ์และความรู้สึก
ปกติต่อมไทรอยด์จะหลั่งฮอร์โมนออกมาในปริมาณที่เหมาะสม ฮอร์โมนที่สำคัญคือ Tetraiodothyronine( thyroxin หรือ T4) และ Triiodothyronine(T3) โดยฮอร์โมนนี้จะมีฐาตุไอโอดินเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ ถ้าฮอร์โมนหลั่งน้อยไปเรียก Hypothyroid ร่างกายจะเผาผลาญน้อยลง แต่ถ้าฮอร์โมนหลั่งมากร่างกายจะเผาผลาญมากทำให้น้ำหนักลดเรียก Hyperthyroid
การวินิจฉัยโรค
1. การตรวจเลือดหาระดับไทรอยด์ฮอร์โมน ต่อมใต้สมอง Pituitary gland จะสร้างฮอร์โมนที่เรียกว่า Thyroid stimulating hormone TSH ทำหน้าที่กระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมน thyroxin หรือ T4 และ T3 เพื่อให้ร่างกายเผาผลาญอาหาร
-หากต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนมากเกินไปเรียก Hyperthyroid ตรวจเลือดจะพบว่า T4 และ T3 สูงแต่ TSH ต่ำ
-หากต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนน้อยเกินไปเรียก Hypothyroid ตรวจเลือดจะพบว่า T4 และ T3 ต่ำแต่ TSH สูง
2. Thyroid scan คือการตรวจต่อมไทรอยด์โดยการให้ผู้ป่วยรับประทานเกลือ iodine ที่อาบรังสี หลังจากนั้นนำผู้ป่วยเข้าเครื่องตรวจ ประโบชน์ของ Thyroid scan คือ
-บอกว่าต่อมไทรอยด์มีการอักเสบหรือไม่ Thyroiditis
-บอกว่าต่อมไทรอยด์มีการสร้างฮอร์โมนเพิ่มขึ้นหรือไม่
แยกก้อนที่ต่อมไทรอยด์ว่าเป็นHot nodule หรือ Cold nodule
Hot nodule หมายถึงก้อนที่ต่อมไทรอยด์ที่มีการสร้างฮอร์โมนสูง มักจะไม่เป็นมะเร็ง ส่วนCold nodule มีโอกาศเป็นมะเร็งร้อยละ 5 มะเร็งต่อมไทรอยด์ส่วนใหญ่เป็น Cold nodule
3. Needle aspirate เป็นการใช้เข็มเจาะเนื้อไทรอยด์และดูดเอาเนื้อไทรอยด์ส่งตรวจทางกล้องจุลทัศน์เพื่อตรวจชิ้นเนื้อว่าเป็นมะเร็ง หรือคอพอกเป็นพิษ หรือเป็นซีต
4. การตรวจ ultrsound เพื่อตรวจดูว่าก้อนไทรอยด์นั้นเป็นก้อนเนื้อ หรือเป็น cyst
โรคไทรอยด์ชนิดอ้วน – ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย ( Hypothyroid )
เป็นภาวะที่ต่อมไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนออกมาน้อย ทำให้ร่างกายเกิดอาการของการขาดฮอร์โมนไทรอยด์ ต่อมใต้สมอง [pituitary gland] จะสร้างฮอร์โมนที่เรียกว่า Thyroid stimulating hormone [TSH] ออกมาเพื่อกระตุ้นต่อมไทรอยด์ทำงานมากขึ้น ต่อมไทรอยด์จึงมีขนาดโตขึ้นที่เรียกว่าคอพอก goiter
สาเหตุ
-เกิดจากการอักเสบของต่อมไทรอยด์ thyroiditis
-เกิดจากการผ่าตัดต่อมไทรอยด์มากเกินไป
-เกิดจากการใช้น้ำแร่รักษาต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
-อาการของต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย
อาการของผู้ป่วยเกิดจากการที่ต่อมไทรอยด์ทำงานน้อยร่างกายก็มีการเผาผลาญน้อย ผู้ป่วยที่เป็นไม่มากอาจจะไม่มีอาการอะไร หากไม่รักษาโรคจะเป็นมากขึ้นจนเกิดอาการของต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย คือ
-อ่อนเพลีย
-ผิวหยาบและแห้ง ผิวซีด และผมแห้ง
-อมรมณ์ผันผวน
-ขี้ลืม
-น้ำหนักเพิ่ม
-กลืนลำบาก
-ขี้หนาว
-เบื่ออาหาร
กลุ่มอาการ Subclinical Hypothyroidism
เป็นภาวะที่พบได้บ่อยเป็นภาวะที่พบว่าค่า TSH สูง โดยที่ค่า T3 T4 มีค่าปกติโดยที่ไม่มีอาการ การตัดสินใจรักษาจะต้องพิจารณาให้รอบครอบเพราะหากรักษาจะต้องรักษาตลอดชีพ
การวินิจฉัยโรค
โดยการเจาะเลือดตรวจหาฮอร์โมนของต่อมธัยรอยด TSH T3 T4 จะพบว่าค่า T4 ปกติหรือต่ำ แต่ค่า TSH จะสูงเป็นการยืนยันการวินิจฉัย
การรักษา
โดยการให้ thyroid hormone ตลอดชีวิต โดยต้องเริ่มให้ขนาดน้อยแล้วปรับยาจนกระทั่งค่า T4 และ TSH อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ไม่ควรเปลี่ยนยาเองโดยไม่ได้ปรึกษาแพทย์
ควรตรวจหาระดับ TSH เป็นระยะเพื่อปรับยาไทรอยด์
หากการวินิจฉัยไม่ผิดพลาดท่านจะต้องรับประทานยาไปตลอดชีวิต ไม่ควรหยุดยาเองแม้ว่าท่านจะป่วยจากโรคอื่น
โรคไทรอยด์ชนิดผอม – ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ (Hyperthyroid คอพอกเป็นพิษ)
หมายถึงภาวะที่ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนออกมามากกว่าปกติทำให้เกิดอาการของภาวะฮอร์โมนเกินร่างกา ยมีการเผาผลาญอาหารมากเกินไป
สาเหตุสำคัญของโรคคอพอกเป็นพิษ
-โรค Grave’s disease เกิดภาวะที่มีภูมิของร่างกายมีการกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างฮอร์โมนออกมามาก ผู้ป่วยจะมีต่อมไทรอยด์โต
-โรค Multinudular toxic goiter หมายถึงภาวะที่ก้อน [nodule] ในต่อมไทรอยด์ทำงานสร้างฮอร์โมนเพิ่มขึ้น อาจจะเป็นก้อนเดียว หรือหลายก้อน
-Thyroiditis เป็นการอักเสบของต่อมไทรอยด์ ช่วงแรกของการอักเสบจะมีอาการของคอพอกเป็นพิษ แต่ระยะหลังจะเป็นต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย
ผู้ป่วยคอพอกเป็นพิษจะมีอาการอะไรบ้าง
-อารมณ์แปรปรวน
-นอนไม่หลับ
-กล้ามเนื้ออ่อนแรง
-ตาโปน
-มือสั่น
-ใจสั่น เหนื่อยง่าย
-คอพอก
-ประจำเดือนผิดปกติ
-ขี้ร้อน
-น้ำหนักลดแม้ว่าจะรับประทานอาหารได้ดี
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจการทำงานของต่อมไทรอยด์ พบว่าค่า T3 หรือ T4 สูงและค่า TSH ต่ำ
ทำไทรอยด์สแกน เพื่อดูสภาพต่อมไทรอยด์ว่าโตทั้งต่อมหรือไม่ มีก้อนหรือไม่ หรือเป็นต่อมไทรอยด์อักเสบ
การรักษา
การรักษามีได้หลายวิธีแพทย์จะพิจารณาจาก อายุ เพศ สภาพของผู้ป่วย ชนิดของคอกพอกเป็นพิษ ความรุนแรงของโรค การรักษามีได้ 3 วิธีคือ
-การรับประทานยาเพื่อลดการสร้างฮอร์โมน เช่นยา PTU ,Methimazole
-การรับประทานน้ำแร่ radioactive iodine เมื่อรับประทานน้ำแร่ซึ่ง iodine ที่มีรังสีจะทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์ แพทย์จะคำนวณขนาดยาที่เหมาะสม
-การผ่าตัด ปัจจุบันการผ่าตัดมีความนิยมลดลงไปมาก โดยเลือกกับผู้ป่วยบางราย เช่น เด็ก วัยรุ่น หรือหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาในการรักษา หรือผู้ที่มีต่อมโตมาก มีอาการทางตารุนแรง หรือมีก้อนในต่อม
ยาอื่นๆได้แก่กลุ่ม betablockerเช่น propanolol,atenolol,metoprolol เพื่อลดอาการของโรค
ได้ทำความรู้จักกัน โรคไทรอยด์ ทั้งสองชนิดกันไปแล้วนะคะ จริงๆแล้วโรคไทรอยด์ไม่ใช่โรคที่ร้ายแรง แต่แค่ต้องดูแลตัวเองตลอดเวลา ท่านผู้อ่านลองสังเกตอาการของตัวเองดูว่ามีความผิดปกติและมีอาการเหมือนดังที่กล่าวมาไหม ถ้าสงสัยให้รีบไปตรวจที่โรงพยาบาลทันทีเลยนะคะ เพื่อที่เราจะได้รักษาอย่างทันท่วงที
แต่ในปัจุบันมีทางเลือกอีกช่องทางคือการดื่มยาสมุนไพร เพื่อป้องกันหรือรักษาได้ แนะนำ ยาน้ำสมุนไพรโหย่งเหิง หรือ ยาเม็ดสมุนไพรโหย่งหมิง
อ้างอิง
ชื่อของฉันคือ DR AKHIDEHOR และฉันเป็นผู้รักษาคาถาแบบดั้งเดิมซึ่งเชี่ยวชาญในด้านการรักษาซึ่งรวมถึง
ตอบลบโรค
โรคติดเชื้อทั่วไป
รักษาโรคตับอักเสบบี
รักษาโรคตับอักเสบ
การรักษาเอชไอวี
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
วัณโรค
ไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาล
ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ
อาหารเป็นพิษ
โรคที่เกิดจากน้ำ
อุบัติเหตุจราจร
พิษสุนัขบ้า
งูกัด
Aslo มีความเชี่ยวชาญในด้านต่าง ๆ ของ Spell Casting เช่นการค้นหาความรัก, เงิน, พลัง, ความสำเร็จ, Luck และ Witch Craft ฉันสามารถช่วยคุณแก้ปัญหาใด ๆ ที่คุณอาจต้องเผชิญ ติดต่อฉันตอนนี้เพื่อรับผลทันทีอีเมล์: akhidenormenhiherbalcure@gmail.com หรือโทรหรือ Whatsapp +2349055934886